นิติบุคคลมีหน้าที่ต้อง รับปิดงบเปล่า 66 เพื่อนำส่งข้อมูลให้แก่ กรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตามที่กฎหมายกำหนดซึ่งผู้ประกอบการหลายท่านอาจสงสัยว่า รับปิดงบเปล่า 66 คืออะไร? กล่าวคือ ธุรกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการ ไม่มีรายได้และค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่มีการซื้อขาย ซึ่งตลอดทั้งปีไม่มีการเคลื่อนไหว แต่ผู้ประกอบการยังต้อง รับปิดงบเปล่า 66 โดยมีผู้ทำบัญชี และผู้สอบบัญชีตรวจสอบบัญชีพร้อมเซ็นรับรอง ระยะเวลาดำเนินการ รับปิดงบเปล่า 66 ตั้งแต่สิ้นรอบบัญชี ต้องให้เสร็จไม่เกิน 5 เดือน โดยยื่นงบการเงิน ลายเซ็นผู้สอบ และ บอจ.5 ผ่านทางออนไลน์ได้เพียงช่องทางเดียวเท่านั้น ส่วนกรมสรรพากร ให้ยื่นส่งงบการเงิน และ ภ.ง.ด.50 ภายใน 150 วัน นับจากวันสิ้นรอบบัญชี
เงื่อนไขที่เข้าข่ายจัดเป็น รับปิดงบเปล่า 66 อาทิ ต้องไม่มีรายละเอียดต้นงวดยกมาที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งจำเป็นต้องพิสูจน์ความถูกต้อง กรณีมีการเคลื่อนไหวของรายการธนาคาร มีการยื่นแบบภาษี (ที่ไม่ใช่แบบเปล่า) จะถือว่าไม่ใช่ รับปิดงบเปล่า 66 และทุนจดทะเบียนบริษัทไม่เกิน 5 ล้านบาท ซึ่งผู้ประกอบการที่ต้องการ รับปิดงบเปล่า 66 ด้วยตนเองสามารถทำได้ดังนี้
- บันทึกบัญชีในสมุดรายวัน แยกประเภท งบทดลอง กระดาษทำการ ตามรอบระยะเวลาบัญชี
- จัดทำบัญชีและมีผู้สอบบัญชีลงลายมือชื่อ ต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อรับรองงบการเงินภายใน 4 เดือน นับจากวันที่ผู้สอบลงลายมือชื่อในหน้ารายงานงบการเงิน
เมื่อเสร็จสิ้นการ รับปิดงบเปล่า 66 สามารถนำส่งข้อมูลให้ทางกรมสรรพากร และ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตามที่กฎหมายกำหนดได้เลย
Techvision Acconting ให้บริการ รับปิดงบเปล่า 66 ในราคาเริ่มต้นเพียง 8,999 บาทต่อปี ซึ่งค่าบริการดังกล่าวได้รวมการนำส่งงบการเงินให้กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า และนำส่งแบบภาษีให้กับกรมสรรพากรตามที่กฎหมายกำหนด พร้อมให้คำปรึกษา แนะนำ รับปิดงบเปล่า 66 ตลอดอายุการใช้บริการ รวมไปถึงให้บริการวางแผนภาษีอย่างครบวงจรในทุกรูปแบบของธุรกิจโดยทีมงานคุณภาพ บริการรวดเร็วทันใจและมีการปรับยืดหยุ่นในการ รับปิดงบเปล่า 66 ให้เหมาะสมกับกิจการทุกประเภททุกธุรกิจ
เงื่อนไขที่เข้าข่ายจัดเป็น รับปิดงบเปล่า 66 อาทิ ต้องไม่มีรายละเอียดต้นงวดยกมาที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งจำเป็นต้องพิสูจน์ความถูกต้อง กรณีมีการเคลื่อนไหวของรายการธนาคาร มีการยื่นแบบภาษี (ที่ไม่ใช่แบบเปล่า) จะถือว่าไม่ใช่ รับปิดงบเปล่า 66 และทุนจดทะเบียนบริษัทไม่เกิน 5 ล้านบาท ธุรกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล แต่ไม่ได้ดำเนินกิจการ ไม่มีรายได้และค่าใช้จ่ายใดๆ ไม่มีการซื้อขาย ซึ่งตลอดทั้งปีไม่มีการเคลื่อนไหว แต่ผู้ประกอบการยังต้อง รับปิดงบเปล่า 66 โดยมีผู้ทำบัญชี และผู้สอบบัญชีตรวจสอบบัญชีพร้อมเซ็นรับรอง ระยะเวลาดำเนินการ รับปิดงบเปล่า 66 ตั้งแต่สิ้นรอบบัญชี ต้องให้เสร็จไม่เกิน 5 เดือน โดยมีเอกสารประกอบดังนี้ รายงานการเงินประจำปี งบการเงินปัจจุบัน งบกำไรขาดทุน งบดุล และรายงานผลการตรวจสอบบัญชี
ผู้ที่ต้อง จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เอกสาร คือ ผู้ประกอบกิจการที่มีรายได้จากการขายสินค้าหรือให้บริการ เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี และเป็นประเภทธุรกิจที่อยู่ในข้อบังคับต้อง จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เอกสาร ภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีรายรับเกิน และนำส่งแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ ภ.พ.30 ทุกๆ เดือน